Trending Now
บทความคดีแพ่ง
เงินประกันชีวิต ไม่ใช่มรดก จึงไม่ตกทอดไปสู่ทายาท
เงินประกันชีวิต ไม่ใช่มรดก จึงไม่ตกทอดไปสู่ทายาท ?
บทกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับประเด็นนี้ คือ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๘๙๗ ถ้าผู้เอาประกันภัยได้เอาประกันภัยไว้โดยกำหนดว่า เมื่อตนถึงซึ่งความมรณะให้ใช้เงินแก่ทายาททั้งหลายของตนโดยมิได้เจาะจงระบุชื่อผู้หนึ่งผู้ใดไว้ไซร้ จำนวนเงินอันจะพึงใช้นั้น ท่านให้ฟังเอาเป็นสินทรัพย์ส่วนหนึ่งแห่งกองมรดกของผู้เอาประกันภัย ซึ่งเจ้าหนี้จะเอาใช้หนี้ได้
ถ้าได้เอาประกันภัยไว้โดยกำหนดว่าให้ใช้เงินแก่บุคคลคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง ท่านว่าเฉพาะแต่จำนวนเงินเบี้ยประกันภัยซึ่งผู้เอาประกันภัยได้ส่งไปแล้วเท่านั้นจักเป็นสินทรัพย์ส่วนหนึ่งแห่งกองมรดกของผู้เอาประกันภัยอันเจ้าหนี้จะเอาใช้หนี้ได้
มาตรา ๑๕๙๙ เมื่อบุคคลใดตาย มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทายาท
วรรคสอง ทายาทอาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้แต่โดยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น
มาตรา ๑๖๐๐ ภายใต้บังคับของบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ กองมรดกของผู้ตายได้แก่ทรัพย์สินทุกชนิดของผู้ตาย ตลอดทั้งสิทธิหน้าที่และความรับผิดต่าง ๆ เว้นแต่ตามกฎหมายหรือว่าโดยสภาพแล้ว เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตายโดยแท้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่เป็นตัวอย่างให้ศึกษา ดังต่อไปนี้คือ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่...
บทความคดีอาญา
บทความคดีประกันภัย
การรับฟังพยานหลักฐานในคดีแพ่งจะต้องถือข้อเท็จจริงจากความเห็นในการสั่งฟ้องของพนักงานสอบสวนหรือไม่
การรับฟังพยานหลักฐานในคดีแพ่ง จะต้องถือข้อเท็จจริงจาก ความเห็นในการสั่งฟ้องของพนักงานสอบสวน หรือไม่ หรือต้องวินิจฉัยชี้ขาดข้อเท็จจริงตามพยานหลักฐานในสำนวนคดีแพ่ง
#ประเภทว่าตำรวจชี้คนตายว่าประมาทด้วยแล้วคิดว่าไม่ต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนดูไว้นะครับ
มีแนวคำพิพากษาศาลฎีกาวินิจฉัยไว้ดังนี้
#ความเห็นของพนักงานสอบสวน
คำพิพากษาฎีกาที่ 1703/2558 ความเห็นของพนักงานสอบสวนไม่ใช่ข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญา ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่ง ศาลไม่ต้องสืบข้อเท็จจริงตามความเห็นของพนักงานสอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 46
คำพิพากษาฎีกาที่ 8271-8272/2550 จำเลยที่ 1 เป็นข้าราชการสังกัดกรมทางหลวงจำเลยที่ 2 ขณะเกิดเหตุจำเลยที่ 1 ขับรถยนต์ของทางราชการกลับจากตรวจงาน และได้เกิดเหตุชนกับรถยนต์ที่มี...
เรวมบทความที่น่าสนใจ
กรมธรรม์ประกันเจตนาให้ผู้รับผลประโยชน์ โดยไม่แบ่งทายาทโดยธรรมสามารถทำได้หรือไม่
กรมธรรม์ประกันเจตนาให้ผู้รับผลประโยชน์ โดยไม่แบ่งทายาทโดยธรรมสามารถทำได้หรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 892/2565
โจทก์ทั้งสองฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสองร่วมกันชำระเงิน 10,850,770 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปีของต้นเงิน 10,000,000 บาท นับถัดจากวันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ทั้งสอง
จำเลยที่ 1 ให้การขอให้ยกฟ้อง
ระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้น นาง ก. ในฐานะส่วนตัวและในฐานะผู้จัดการมรดกของนาย ส. ยื่นคำร้องสอดขอเข้าเป็นคู่ความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (1) ขอให้บังคับจำเลยทั้งสองร่วมกันชำระเงิน 10,850,770 บาท...
หัวหน้าสำนักงานทนายความ