Home Authors Posts by admin

admin

350 POSTS 0 COMMENTS

กลับรถขณะที่มีรถอื่นตามมาในระยะน้อยกว่า ๑๐๐ เมตร ถือว่าประมาทหรือไม่

0
กลับรถขณะที่มีรถอื่นตามมาในระยะน้อยกว่า ๑๐๐ เมตร ถือว่าประมาทหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 112/2542 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 300 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43, 157 จำเลยให้การปฏิเสธ ระหว่างพิจารณานายกาหลง ช้อยเชื้อดี กับนายยมหินผู้เสียหายยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์ ศาลชั้นต้นอนุญาตและให้เรียกนายกาหลงเป็นโจทก์ร่วมที่ 1 นายยมหินเป็นโจทก์ร่วมที่ 2 ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้ว พิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 300 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ....

แซงรถในที่ขับคัน ถือว่ากระทำโดยประมาทหรือไม่

0
แซงรถในที่ขับคัน ถือว่ากระทำโดยประมาทหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 51/2541 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 300, 390 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43, 46(4), 78, 157, 160 จำเลยให้การปฏิเสธ ระหว่างพิจารณา นายม่วง ผู้เสียหายยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์ ศาลชั้นต้นอนุญาต ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้วพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 300, 390 พระราชบัญญัติจราจรทางบกพ.ศ. 2522...

เปลี่ยนช่องทางเดินรถกระชั้นชิด ถือว่าประมาทหรือไม่

0
เปลี่ยนช่องทางเดินรถกระชั้นชิด ถือว่าประมาทหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4185/2529 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๑, ๓๐๐, ๙๑ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓, ๔๖, ๑๕๗ จำเลยทั้งสองให้การปฏิเสธ นางส้มรณายื่นคำร้องขอเข้าเป็นโจทก์ร่วม แต่ศาลชั้นต้นมิได้มีคำสั่งอย่างใด ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยที่ ๒ มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๑, ๓๐๐ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒...

ขับแซงมาแล้วถูกเฉี่ยวชน รถที่ถูกแซงถือว่าประมาทหรือไม่

0
ขับแซงมาแล้วถูกเฉี่ยวชน รถที่ถูกแซงถือว่าประมาทหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 534/2511 โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสามฐานขับรถยนต์โดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงตายและบาดเจ็บสาหัส ทั้งนี้ โดยจำเลยที่ 1 และ 2 ขับรถแทรกเตอร์และรถยนต์เก๋งมาคนละทางตรงข้ามโดยไม่ขับชิดขอบทางถนนและด้วยความเร็วสูง เป็นเหตุให้เกิดการเฉี่ยวชนกันขณะแล่นสวนกันซึ่งขณะนั้นจำเลยที่ 3 ขับรถยนต์บรรทุกมาถึงด้วยความเร็วสูง จึงแล่นเข้าชนรถแทรกเตอร์ซึ่งกำลังเสียหลักขวางถนนอยู่ เป็นเหตุให้ผู้โดยสารในรถแทรกเตอร์ตกจากรถถึงแก่ความตาย 2 คน และบาดเจ็บสาหัส1 คน ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291, 300 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ....

ศาลมีสิทธิสั่งพักหรือเพิกถอนใบอนุญาตขับรถหรือไม่

0
ศาลมีสิทธิสั่งพักหรือเพิกถอนใบอนุญาตขับรถหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7421/2544 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ. 2522 มาตรา 4, 7, 57, 91 พระราชบัญญัติการขนส่งทางบกพ.ศ. 2522 มาตรา 102, 102(3) ทวิ, 127 ทวิ วรรคสอง พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43 ทวิ, 157...

แจ้งเลขตัวถัง และเลขเครื่องยนต์ผิดพลาก มีผลทำให้สัญญาประกันเป็นโมฆะหรือไม่

0
แจ้งเลขตัวถัง และเลขเครื่องยนต์ผิดพลาก มีผลทำให้สัญญาประกันเป็นโมฆะหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1008/2543 โจทก์ฟ้องว่า จำเลยรับประกันภัยรถยนต์คันหมายเลขทะเบียนย - 1388 นนทบุรีของโจทก์มีกำหนด 1 ปี นับแต่วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2535ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2536 เมื่อกลางเดือนกันยายน 2535 นายอัญชัน พนักงานขับรถของโจทก์ได้ขับรถยนต์คันที่เอาประกันกลับจากจังหวัดอุตรดิตถ์มีสุนัขวิ่งตัดหน้า รถยนต์เสียหลักพลิกคว่ำได้รับความเสียหายโจทก์นำรถยนต์ไปซ่อมโดยจำเลยเป็นผู้ตกลงค่าซ่อมกับผู้ซ่อมเป็นเงิน 80,000บาท แต่เมื่อช่างซ่อมเสร็จแล้ว...

การคิดค่าขาดประโยชน์ เริ่มนับจากวันไหน

0
การคิดค่าขาดประโยชน์ เริ่มนับจากวันไหน คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2747/2540 โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เป็นเจ้าของรถยนต์คันหมายเลขทะเบียนน-9090 เชียงราย จำเลยที่ 1 เป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัดประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย โจทก์เอาประกันภัยรถยนต์คันดังกล่าวไว้แก่จำเลยที่ 1 ในวงเงินประกัน 80,000 บาท ต่อมาในระหว่างอายุประกันภัยรถยนต์ของโจทก์ได้เกิดอุบัติเหตุชนกับรถยนต์คันหมายเลขทะเบียน น-6107 ชุมพร โดยไม่ใช่ความผิดของโจทก์ และเจ้าของรถยนต์คันหมายเลขทะเบียน น-6107 ชุมพร ได้ชำระเงิน50,000 บาท ให้จำเลยที่ 1...

โต้เถียงเรื่องค่าเสียหายสูงขึ้น เป็นการอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงหรือไม่

0
โต้เถียงเรื่องค่าเสียหายสูงขึ้น เป็นการอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8651/2547 โจทก์ฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เช่าซื้อรถยนต์ตู้ยี่ห้อโตโยต้าไปจากโจทก์ในราคา 419,040 บาท ตกลงชำระค่าเช่าซื้องวดละเดือน รวม 36 งวด โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันยอมรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วม จำเลยที่ 1 ชำระค่าเช่าซื้อแก่โจทก์เพียง 6 งวด แล้วผิดนัดชำระค่าเช่าซื้อตั้งแต่งวดที่ 7 เป็นต้นมา โจทก์ทวงถามและติดตามยึดรถยนต์คืนมาได้โดยเสียค่าใช้จ่ายเป็นเงิน...

ความหมายของอุบัติเหตุตามสัญญาประกันชีวิต ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

0
ความหมายของอุบัติเหตุตามสัญญาประกันชีวิต ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1002/2505 โจทก์ฟ้องว่า นายทับทิม ได้ประกันชีวิตไว้กับบริษัทจำเลยแบบคุ้มครองอุบัติเหตุ ๑๐,๐๐๐ บาท ต่อมานายทับทิมถูกงูพิษกัดโดยบังเอิญถึงแก่ความตาย โจทก์ถือว่าเป็นอุบัติเหตุซึ่งจำเลยจะต้องใช้เงินค่าประกันให้โจทก์ซึ่งเป็นภริยาและบุตรขอให้ศาลบังคับ จำเลยให้การว่า การถูกงูพิษกัดตายไม่ใช่อุบัติเหตุตามความหมายในเงื่อนไขของกรมธรรม์ประกันชีวิต ศาลชั้นต้นเห็นว่า การตายของนายทับทิมเป็นอุบัติเหตุ ให้บริษัทจำเลยใช้เงิน บริษัทจำเลยอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน บริษัทจำเลยฎีกา ศาลฎีกาพิจารณาข้อ ๖ แห่งสัญญาซึ่งบรรยายความหมายของคำว่าอุบัติเหตุไว้ว่า "ต้องเป็นเหตุเนื่องมาจากร่างกายของผู้เอาประกันถูกบาดเจ็บอย่างรุนแรงจากสิ่งที่เกิดขึ้นภายนอกโดยบังเอิญ และปราศจากเจตนาของผู้มีส่วนกระทำให้เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น" แล้ว เห็นว่า การที่นายทับทิมถูกงูพิษกัดถึงตายนั้น นายทับทิมได้ตายโดยถูกบาดเจ็บอย่างรุนแรงจากสิ่งที่เกิดขึ้นภายนอกโดยบังเอิญ และไม่มีผู้ใดมีเจตนากระทำขึ้น จึงนับว่าเป็นอุบัติเหตุตามความหมายของเงื่อนไขการประกันแล้ว ข้อที่จำเลยฎีกา คำว่า...

ระยะเวลาบอกล้าง โมฆียะกรรมในคดีประกันภัย ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

0
ระยะเวลาบอกล้าง โมฆียะกรรมในคดีประกันภัย ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1769/2521 ผู้เอาประกันชีวิตระหว่างเดินทางเอาประกันไว้กับบริษัทหนึ่งแล้วขอเลื่อนวันเดินทาง บริษัทยังไม่อนุมัติ กับได้ขอเอาประกันกับอีกบริษัทซึ่งยังไม่ตอบรับ ผู้นั้นเอาประกันกับบริษัทจำเลยอีก ข้อความที่ว่าไม่เคยประกันภัยเกี่ยวกับอุบัติเหตุกับบริษัทอื่นก่อนเป็นข้อสำคัญที่จำเลยอาจบอกปัดไม่ยอมทำสัญญา แต่การประกันภัยครั้งนี้เป็นคนละระยะเวลากับครั้งก่อนที่ยังไม่อนุมัติเลื่อนการเดินทางจึงถือไม่ได้ว่าได้เอาประกันภัยไว้กับบริษัทอื่นก่อน การบอกล้างโมฆียะกรรมตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 865 ต้องทำภายใน 1 เดือนหลังจากบริษัททราบเหตุที่ปกปิดข้อความจริง การบอกล้างหลังจากนั้นไม่มีผล สัญญาประกันอุบัติเหตุระหว่างเดินทางโดยเครื่องบินมีเงื่อนไขให้จ่ายเงินในกรณีตายรวมทั้งบาดเจ็บนั้น ในส่วนที่เกี่ยวกับการใช้เงินอันอาศัยความมรณะ เป็นประกันชีวิตตาม มาตรา 889 ต้องจ่ายเงินเต็มจำนวน ไม่มีการจ่ายเงินตามลำดับผู้รับประกันภัยก่อนหลัง ตาม มาตรา...