DON'T MISS
ความหมาย กระทำโดยประมาทเลินเล่อ ที่ศาลฎีกาวางหลักไว้มีว่าอย่างไร
ความหมาย กระทำโดยประมาทเลินเล่อ ที่ศาลฎีกาวางหลักไว้มีว่าอย่างไร
กระทำโดยประมาทเลินเล่อ ได้แก่ การกระทำโดยไม่จงใจ แต่ผู้กระทำได้ กระทำโดยขาดความระมัดระวังตามสมควร คือ เป็นการกระทำที่อยู่ในลักษณะที่ บุคคลผู้มีความระมัดระวังไม่กระทำด้วย เพราะฉะนั้นการที่เขาทำไป ถือว่าเป็น การกระทำที่ขาดความระมัดระวัง เรียกว่าเป็นการกระทำโดยประมาทเลินเล่อ แล้ว เมื่อเปรียบกับคำว่า “ประมาท” ตามที่ ปอ.มาตรา ๕๙ วรรคสี่ ว่า “กระทำ โดยประมาท...
สาระสำคัญของพรบ.ประกันชีวิตฯตามกฎหมายมีอะไรบ้าง
สาระสำคัญของพรบ.ประกันชีวิตฯตามกฎหมายมีอะไรบ้าง
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า สาระสำคัญของพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ที่มีการควบคุมมากกว่าบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 นั้น ได้ตราขึ้นเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกำกับดูแลบริษัทที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันชีวิต ตัวแทนประกันชีวิต และนายหร้าประกันชีวิตให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบันและเพียงพอที่จะคุ้มครองประชาชนและผู้เอาประกันภัยจากการทำสัญญาประกันชีวิต ดังนั้นจึงได้มีการตราพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 มาใช้บังคับเพิ่มเติมจากบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เพื่อให้เหมาะสมยิ่งขึ้นรวมทั้งเพื่อคุ้มครองประชาชนผู้เอาประกันภัย และพัฒนาการประกอบธุรกิจประกันชีวิตให้มีความมั่นคงและเสถียรภาพยิ่งขึ้น โดยสาระสำคัญของพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ....
LATEST VIDEOS
TRAVEL GUIDES
กรณีปัญหาทางกฎหมายในการรับช่วงสิทธิในสัญญาประกันภัย
กรณีปัญหาทางกฎหมายในการรับช่วงสิทธิในสัญญาประกันภัย
การใช้ มาตรา ๘๘๐ ในการรับช่วงสิทธิถูกจำกัดอยู่ในประกันวินาศภัย วิธีเฉพาะการประกันภัยในการขนส่ง ประกันภัยค้ำจุน เท่านั้น
ส่วนการประกันชีวิต ซึ่งอยู่ในหมวด ๓ จะไม่นำบทบัญญัติ ในหมวด ๒ มาบังคับใช้ ดังนั้น การรับช่วงสิทธิตามมาตรา ๘๘๐ วรรคหนึ่ง แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จึงไม่อาจนำมาใช้แก่การประกันชีวิตได้
ส่วนการประกันสุขภาพ ถือเป็นส่วนหนึ่งของการประกันชีวิต ดังนั้น ผู้รับประกันภัยจึงไม่อาจรับช่วงสิทธิตาม มาตรา ๘๘๐...
ละเมิดกับประกันภัย ผู้เสียหาย ฟ้องใครได้บ้าง
ละเมิดกับประกันภัย
ผู้เสียหาย ฟ้องใครได้บ้าง
บทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้โดยตรง คือ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๔๒๐ ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา ๔๒๕ นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่ จ้างนั้น
มาตรา ๔๓๘ ค่าสินไหมทดแทนจะพึงใช้โดยสถานใดเพียงใดนั้น ให้ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด อนึ่ง ค่าสินไหมทดแทนนั้น ได้แก่การคืนทรัพย์สินอันผู้เสียหายต้องเสียไปเพราะละเมิด หรือใช้ราคาทรัพย์สินนั้น รวมทั้งค่าเสียหายอันจะพึงบังคับให้ใช้เพื่อความเสียหายอย่างใด...
MOBILE AND PHONES
เงินประกันชีวิต ไม่ใช่มรดก จึงไม่ตกทอดไปสู่ทายาท ?
เงินประกันชีวิต ไม่ใช่มรดก จึงไม่ตกทอดไปสู่ทายาท ?
บทกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับประเด็นนี้ คือ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๘๙๗ ถ้าผู้เอาประกันภัยได้เอาประกันภัยไว้โดยกำหนดว่า เมื่อตนถึงซึ่งความมรณะให้ใช้เงินแก่ทายาททั้งหลายของตนโดยมิได้เจาะจงระบุชื่อผู้หนึ่งผู้ใดไว้ไซร้ จำนวนเงินอันจะพึงใช้นั้น ท่านให้ฟังเอาเป็นสินทรัพย์ส่วนหนึ่งแห่งกองมรดกของผู้เอาประกันภัย ซึ่งเจ้าหนี้จะเอาใช้หนี้ได้
ถ้าได้เอาประกันภัยไว้โดยกำหนดว่าให้ใช้เงินแก่บุคคลคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง ท่านว่าเฉพาะแต่จำนวนเงินเบี้ยประกันภัยซึ่งผู้เอาประกันภัยได้ส่งไปแล้วเท่านั้นจักเป็นสินทรัพย์ส่วนหนึ่งแห่งกองมรดกของผู้เอาประกันภัยอันเจ้าหนี้จะเอาใช้หนี้ได้
มาตรา ๑๕๙๙ เมื่อบุคคลใดตาย มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทายาท
วรรคสอง ทายาทอาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้แต่โดยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น
มาตรา ๑๖๐๐ ภายใต้บังคับของบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ กองมรดกของผู้ตายได้แก่ทรัพย์สินทุกชนิดของผู้ตาย ตลอดทั้งสิทธิหน้าที่และความรับผิดต่าง ๆ เว้นแต่ตามกฎหมายหรือว่าโดยสภาพแล้ว เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตายโดยแท้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่เป็นตัวอย่างให้ศึกษา ดังต่อไปนี้คือ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่...
ละเมิดกับประกันภัย ผู้เสียหาย ฟ้องใครได้บ้าง
ละเมิดกับประกันภัย
ผู้เสียหาย ฟ้องใครได้บ้าง
บทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้โดยตรง คือ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๔๒๐ ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา ๔๒๕ นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่ จ้างนั้น
มาตรา ๔๓๘ ค่าสินไหมทดแทนจะพึงใช้โดยสถานใดเพียงใดนั้น ให้ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด อนึ่ง ค่าสินไหมทดแทนนั้น ได้แก่การคืนทรัพย์สินอันผู้เสียหายต้องเสียไปเพราะละเมิด หรือใช้ราคาทรัพย์สินนั้น รวมทั้งค่าเสียหายอันจะพึงบังคับให้ใช้เพื่อความเสียหายอย่างใด...
NEW YORK 2014
ความแตกต่างระหว่างดูหมิ่นกับหมิ่นประมาท
ความแตกต่างระหว่างดูหมิ่นกับหมิ่นประมาท
ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 393 บัญญัติว่า "ผู้ใดดูหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้า หรือด้วยการโฆษณา ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
มาตรา 326 บัญญัติว่า “ผู้ใดใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะ ทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระทำความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือ ปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”
ข้อแตกต่างที่สำคัญของดูหมิ่นซึ่งหน้า (มาตรา 393) กับหมิ่นประมาท (มาตรา 326) มีดังนี้
ข้อแตกต่างที่...
เหตุละเมิดเกิดก่อนวันได้รับกรมธรรม์ประกันภัย แต่หลังวันซื้อประกันบริษัทประกันปฏิเสธความรับผิดได้หรือไม่
เหตุละเมิดเกิดก่อนวันได้รับกรมธรรม์ประกันภัย แต่หลังวันซื้อประกันบริษัทประกันปฏิเสธความรับผิดได้หรือไม่
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า เหตุละเมิดเกิดก่อนวันได้รับกรมธรรม์ประกันภัย แต่หลังวันซื้อประกันบริษัทประกันปฏิเสธความรับผิดได้หรือไม่ และตามกรมธรรม์ประกันภัยจะระบุวันทำสัญญาประกันภัย ไม่ตรงกับ วันที่ให้เริ่มระยะเวลาประกันภัยเริ่มมีผล จะมีผลในทางกฎหมายหรือไม่ อย่างไร บริษัทประกันต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนหรือไม่
สัญญาประกันวินาศภัยเป็นสัญญาที่ผู้รับประกันภัยตกลงใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือใช้เงินจำนวนหนึ่งให้ในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้น หรือในเหตุอย่างอื่นในอนาคตดังที่ระบุในสัญญา และในการนี้บุคคลอีกคนหนึ่งตกลงจะส่งเงินซึ่งเรียกว่าเบี้ยประกันภัย ให้หมายความรวมเอาความเสียหายอย่างใดๆ บรรดาซึ่งจะพึงประมาณเป็นเงินได้
#คำพิพากษาฎีกาที่ 12377/2558
สัญญาประกันภัยเกิดขึ้นเมื่อมีการแสดงเจตนาทำคำเสนอคำสนองถูกต้องตรงกันตามคำขอเอาประกันภัยรถยนต์ระบุว่า อ. ขอเอาประกันภัยรถยนต์เมื่อวันที่ 3...
TECH
FASHION
LATEST REVIEWS
คดีชนแล้วหนี
คดี ชนแล้วหนี.
1.เมาแล้วขับเจอโทษหนัก
อัตราบทลงโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับขั้นต่ำ 10,000 ถึง 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ นอกจากนี้ยังให้ศาลสั่งพักใช้ใบอนุญาตขับขี่ มีกำหนดไม่น้อยกว่า 6 เดือน หรือเพิกถอนใบอนุญาต
และหากเมาแล้วขับจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายอย่างสาหัส จะมีโทษเพิ่มขึ้นเป็น จำคุก 2-6 ปี ปรับ 40,000-120,000 บาท พักใช้ใบอนุญาตขับขี่ไม่น้อยกว่า 2...