ไม่ยอมเป่าแอลกอฮอร์ขณะขับรถมีความผิดอะไรบ้าง

0
ไม่ยอมเป่าแอลกอฮอร์ขณะขับรถมีความผิดอะไรบ้าง คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 411/2565 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91, 291, 368 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43, 142, 157, 160 ตรี จำเลยให้การรับสารภาพ ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91, 291, 368 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 มาตรา 43...

ขับรถชนท้ายผู้ตาย ภริยาผู้ตายสามารถฟ้องเรียกค่าปลงศพได้หรือไม่

0
ขับรถชนท้ายผู้ตาย ภริยาผู้ตายสามารถฟ้องเรียกค่าปลงศพได้หรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 871/2565 โจทก์ฟ้องและแก้ไขคำฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสองร่วมกันชำระเงิน 1,500,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงินดังกล่าวนับแต่วันทำละเมิดจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ จำเลยทั้งสองให้การขอให้ยกฟ้อง ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยทั้งสองร่วมกันชำระเงิน 402,795.40 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงินดังกล่าว นับแต่วันที่ 27 พฤศจิกายน 2560 เป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ ให้จำเลยทั้งสองร่วมกันใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ โดยกำหนดค่าทนายความ 3,000 บาท โจทก์อุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค...

ดอกเบี้ยค่าขาดไร้อุปการะมีได้หรือไม่ ศาลกำหนดให้ได้ตั้งแต่วันใด

0
ดอกเบี้ยค่าขาดไร้อุปการะมีได้หรือไม่ ศาลกำหนดให้ได้ตั้งแต่วันใด คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2127/2565 โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสองร่วมกันชดใช้ค่าสินไหมทดแทน 3,000,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงินจำนวนดังกล่าวนับแต่วันที่ 22 เมษายน 2559 เป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ จำเลยที่ 1 ให้การและแก้ไขคำให้การขอให้ยกฟ้อง ระหว่างพิจารณาโจทก์ยื่นคำร้องขอถอนฟ้องจำเลยที่ 2 ศาลชั้นต้นอนุญาต และจำเลยที่ 1 ขอให้หมายเรียกนาย ศ. เข้ามาเป็นจำเลยร่วม ศาลชั้นต้นอนุญาต จำเลยร่วมให้การขอให้ยกคำร้องขอหมายเรียกจำเลยร่วม ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1...

การเก็บตัวอย่างเลือดผู้ต้องหาต้องได้รับความยินยอม หรือไม่

0
การเก็บตัวอย่างเลือดผู้ต้องหาต้องได้รับความยินยอม หรือไม่ โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291, 390 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43, 157, 160 ตรี จำเลยให้การปฏิเสธ ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291, 390 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43 (4), 157...

การแบ่งความรับผิดของจำเลยร่วม ในคดีละเมิด

0
การแบ่งความรับผิดของจำเลยร่วม ในคดีละเมิด คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2127/2565 โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสองร่วมกันชดใช้ค่าสินไหมทดแทน 3,000,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงินจำนวนดังกล่าวนับแต่วันที่ 22 เมษายน 2559 เป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ จำเลยที่ 1 ให้การและแก้ไขคำให้การขอให้ยกฟ้อง ระหว่างพิจารณาโจทก์ยื่นคำร้องขอถอนฟ้องจำเลยที่ 2 ศาลชั้นต้นอนุญาต และจำเลยที่ 1 ขอให้หมายเรียกนาย ศ. เข้ามาเป็นจำเลยร่วม ศาลชั้นต้นอนุญาต จำเลยร่วมให้การขอให้ยกคำร้องขอหมายเรียกจำเลยร่วม ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1...

ค่าสินไหมทดแทนต่อหนึ่งคน สำหรับการเสียชีวิต ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

0
ค่าสินไหมทดแทนต่อหนึ่งคน สำหรับการเสียชีวิต ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4478/2565 โจทก์ฟ้องและแก้ไขคำฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสามร่วมกันชำระเงิน 3,000,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ จำเลยทั้งสามให้การและแก้ไขคำให้การขอให้ยกฟ้อง ระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้น จำเลยทั้งสามขอให้เรียกบริษัท ท. และบริษัท ส. เข้ามาเป็นจำเลยร่วม ศาลชั้นต้นอนุญาต โดยให้เรียกว่าจำเลยร่วมที่ 1 และที่ 2 ตามลำดับ ต่อมาโจทก์ขอถอนฟ้องจำเลยร่วมทั้งสองอ้างว่า จำเลยร่วมทั้งสองได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ครบจำนวนตามกรมธรรม์ประกันภัยทั้งสามฉบับแล้ว ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาต...

เลี้ยวขวาตัดหน้ารถ ศาลวินิจฉัยว่าใครประมาท

0
เลี้ยวขวาตัดหน้ารถ ศาลวินิจฉัยว่าใครประมาท คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3557/2531 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 300, 91พระราชบัญญัติ จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43, 78, 157, 160จำเลยให้การรับสารภาพ ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 300, 91 พระราชบัญญัติจราจรทางบกพ.ศ. 2522 มาตรา 43, 78,...

บิดาไม่ชอบด้วยกฎหมาย ต้องร่วมกับผิดกรณีผู้เยาว์กระทำละเมิดด้วยหรือไม่

0
บิดาไม่ชอบด้วยกฎหมาย ต้องร่วมกับผิดกรณีผู้เยาว์กระทำละเมิดด้วยหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 9184/2539 โจทก์ฟ้องและแก้ไขคำฟ้องว่า จำเลยที่ 1 ผู้เยาว์และอยู่ในความปกครองดูแลของจำเลยที่ 2 และที่ 3 ซึ่งเป็นบิดามารดาได้ขับรถยนต์จิ๊ปของจำเลยที่ 4 ด้วยความประมาทเฉี่ยวชนกับรถยนต์กระบะแล้วเสียหลักชนกับรถยนต์เก๋งที่โจทก์รับประกันภัยไว้ได้รับความเสียหายและเป็นเหตุให้บุคคลอื่นได้รับบาดเจ็บและถึงแก่ความตายโจทก์ในฐานะผู้รับประกันภัยรถยนต์เก๋งคันดังกล่าวได้ซ่อมแซมเสียค่าใช้จ่ายไปจำนวน 150,000 บาท จำเลยที่ 2และที่ 3 ในฐานะบิดามารดาของจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 4 ในฐานะเจ้าของผู้ครอบครองรถยนต์จิ๊ปต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ขอให้จำเลยทั้งสี่ชำระเงินจำนวน 154,191.78 บาท...

รถยนต์เบรคแตก ขับรถไปซ่อมโดยนายจ้างไม่ได้ใช้ ต้องรับผิดหรือไม่

0
รถยนต์เบรคแตก ขับรถไปซ่อมโดยนายจ้างไม่ได้ใช้ ต้องรับผิดหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1217/2508 โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 เป็นเจ้าของรถยนต์โดยสารประจำทางและเป็นนายจ้างจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 2 ได้ขับรถของจำเลยที่ 1 ในทางการจ้างด้วยความประมาทปราศจากความระมัดระวัง ชนรถยนต์ของโจทก์เสียหาย ต้องเสียค่าซ่อมเป็นเงิน 5,165 บาท และค่าเสื่อมราคาเป็นเงิน 10,000 บาท ขอให้ศาลบังคับ จำเลยที่ 1 ให้การว่าจำเลยที่ 2 ไม่ได้ปฏิบัติงานในทางการที่จ้าง จำเลยที่...

ลูกจ้างขับรถออกนอกเส้นทาง เกิดเหตุชนกัน นายจ้างต้องรับผิดหรือไม่

0
ลูกจ้างขับรถออกนอกเส้นทาง เกิดเหตุชนกัน นายจ้างต้องรับผิดหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 879 - 880/2514 โจทก์ทั้งสองสำนวนฟ้องว่า จำเลยที่ 1 ได้ขับรถจี๊ปเล็กของกรมชลประทานจำเลยที่ 2 โดยประมาท ชนรถยนต์ของโจทก์ที่ 1 เสียหายและโจทก์ที่ 2, 3 และ 4 ได้รับบาดเจ็บ ขอให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 ใช้ค่าเสียหาย จำเลยที่...