DON'T MISS

ดอกเบี้ยในค่าเสียหายมีได้หรือไม่ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

0
ดอกเบี้ยในค่าเสียหายมีได้หรือไม่ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร ดอกเบี้ยในค่าเสียหาย เมื่อโจทก์มีสิทธิได้รับการชดใช้ค่าเสียหายตาม มาตรา ๔๓ ๔ และมาตราต่อ ๆ มาแล้ว หากเป็นตัวเงินจำเลยก็ต้องรับผิดใน ดอกเบี้ย อัตราร้อยละ ๓๗.๕ ต่อปี ตามมาตรา ๒๐๖, ๒๒๔ ทีนี้ก็มีปัญหาว่า ดอกเบี้ยนับแต่วันไหน คือนับแต่วันละเมิดอันเป็นวันผิดนัด หรือนับแต่วันฟ้อง หรือนับแต่วันพิพากษา เดิมศาลฎีกาให้นับแต่วันฟ้อง (ฎ.๕๐๑๔/๒๕๕nn) ก็มี...

นายจ้างต้องร่วมรับผิดจากการกระทำละเมิดของนายจ้างในกรณีใดบ้าง

0
นายจ้างต้องร่วมรับผิดจากการกระทำละเมิดของนายจ้างในกรณีใดบ้าง ความรับผิดในการทำละเมิดของลูกจ้าง ความรับผิดในการทำละเมิดของลูกจ้าง มาตรา ๔๒๕ “นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งละเมิดซึ่ง ลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น” เหตุที่กฎหมายบัญญัติให้นายจ้างต้องร่วมรับผิดในผลละเมิดของ ลูกจ้าง มี ๔ ประการ คือ ๑. นายจ้างมีส่วนผิดเพราะเลือกลูกจ้างไม่ดี จึงมีการก่อให้เกิดความ เสียหายขึ้น ๒. นายจ้างมีส่วนผิดเพราะควบคุมดูแลลูกจ้างไม่ดี ปล่อยให้เขาไป ทำละเมิดขึ้น ไม่ดูแลให้ดี ไม่ว่ากล่าวให้ดี ๓. นายจ้างได้รับประโยชน์จากการกระทำของลูกจ้าง เมื่อได้รับ ประโยชน์ก็ต้องได้รับผลเสียอันเกิดจากการกระทำของลูกจ้างด้วย ๔. ลูกจ้างเป็นผู้ทำการงานนั้น ก็เสมือนหนึ่งนายจ้างเป็นผู้ทำเอง เปรียบเทียบได้ว่าลูกจ้างเป็นแขนขาให้นายจ้างเมื่อไปทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดเข้า...

จอดรถข้างทางไม่ระวัง อาจมีโทษจำคุกและถูกฟ้องเรียกค่าเสียหายได้อย่างไร

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จอดรถข้างทางไม่ระวัง อาจมีโทษจำคุกและถูกฟ้องเรียกค่าเสียหายได้อย่างไร เชิญอ่านได้เลยครับ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๐๐ วางหลักไว้ว่า  “ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ” พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒  มาตรา ๖๑  วางหลักไว้ว่า “ในเวลาที่มีแสงสว่างไม่เพียงพอที่ผู้ขับขี่จะมองเห็นรถที่จอดในทางเดินรถได้โดยชัดแจ้งในระยะไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยห้าสิบเมตร ผู้ขับขี่ซึ่งจอดรถในทางเดินรถหรือไหล่ทางต้องเปิดไฟหรือใช้แสงสว่างตามประเภท ลักษณะ...

LATEST ARTICLES