Home Authors Posts by admin

admin

350 POSTS 0 COMMENTS

เลี้ยวขวากลับรถในช่องห้ามกลับ ถือว่าประมาทหรือไม่

0
เลี้ยวขวากลับรถในช่องห้ามกลับ ถือว่าประมาทหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 659/2539 โจทก์ ฟ้อง ขอให้ บังคับ จำเลย ทั้ง สอง ชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนแก่ โจทก์ คือ ค่ารักษาพยาบาล เป็น เงิน 125,287 บาท และ ดอกเบี้ยค่า ใส่ เอ็นเทียม 60,000 บาท...

คำให้การไม่ได้ต่อสู้ว่าโจทก์ต้องร่วมรับผิด ศาลมีอำนาจกำหนดค่าเสียหายน้อยลงได้หรือไม่

0
คำให้การไม่ได้ต่อสู้ว่าโจทก์ต้องร่วมรับผิด ศาลมีอำนาจกำหนดค่าเสียหายน้อยลงได้หรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3844/2538 โจทก์ ฟ้อง ว่า มี คนร้าย ปลอม ลายมือชื่อ โจทก์ ลง ใน เช็ค ของ โจทก์ที่ คนร้าย ลัก เอาไป ไป เบิกเงิน จาก บัญชี ของ โจทก์...

ขับรถแซงโดยปราศจากความระมัดระวัง ถือเป็นการกระทำโดยประมาทหรือไม่

0
ขับรถแซงโดยปราศจากความระมัดระวัง ถือเป็นการกระทำโดยประมาทหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่  4185/2529 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291, 300, 91พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43, 46, 157 จำเลยทั้งสองให้การปฏิเสธ นางวรรณายื่นคำร้องขอเข้าเป็นโจทก์ร่วม แต่ศาลชั้นต้นมิได้มีคำสั่งอย่างใด ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยที่ 2 มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 291, 300 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ....

ขับรถโดยไม่รอสัญญาณจราจร (ฝ่าไฟแดง) ถือว่าเป็นการกระทำโดยประมาทหรือไม่

0
ขับรถโดยไม่รอสัญญาณจราจร (ฝ่าไฟแดง) ถือว่าเป็นการกระทำโดยประมาทหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2031/2535 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43, 78, 157, 160 จำเลยให้การปฏิเสธ ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้วพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291, 91 พระราชบัญญัติจราจรทางบกพ.ศ. 2522 มาตรา 43, 78, 157, 160...

เลี้ยวขวากลับรถ ในช่องห้ามกลับรถ ถือว่าประมาทหรือไม่

0
เลี้ยวขวากลับรถ ในช่องห้ามกลับรถ ถือว่าประมาทหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 659/2539 โจทก์ ฟ้อง ขอให้ บังคับ จำเลย ทั้ง สอง ชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนแก่ โจทก์ คือ ค่ารักษาพยาบาล เป็น เงิน 125,287 บาท และ ดอกเบี้ยค่า ใส่ เอ็นเทียม 60,000...

ขับรถยนต์เลี้ยวขวาตัดหน้า ถือว่าเป็นการกระทำโดยประมาทหรือไม่

0
ขับรถยนต์เลี้ยวขวาตัดหน้า ถือว่าเป็นการกระทำโดยประมาทหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3557/2531 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 300, 91พระราชบัญญัติ จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43, 78, 157, 160จำเลยให้การรับสารภาพ ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 300, 91 พระราชบัญญัติจราจรทางบกพ.ศ. 2522 มาตรา 43, 78,...

สาระสำคัญที่ศาลฎีกา วินิจฉัยคำฟ้องในฐานะและนิติสัมพันธ์ในคดีประกันภัยพิจารณาจากจุดใด

0
สาระสำคัญที่ศาลฎีกา วินิจฉัยคำฟ้องในฐานะและนิติสัมพันธ์ในคดีประกันภัยพิจารณาจากจุดใด คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 9481/2558 โจทก์ฟ้องและแก้ไขคำฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสี่ร่วมกันชำระเงิน 641,800 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงิน 609,800 บาท นับถัดจากวันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ จำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 ขาดนัดยื่นคำให้การ จำเลยที่ 4 ให้การและแก้ไขคำให้การขอให้ยกฟ้อง ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1 ชำระเงิน 519,800 บาท ให้โจทก์ พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ...

จำเลยไม่สู้เรื่องค่าเสียหายในคดีละเมิด ศาลกำหนดได้หรือไม่

0
จำเลยไม่สู้เรื่องค่าเสียหายในคดีละเมิด ศาลกำหนดได้หรือไม่ เรื่องค่าเสียหายโจทก์บรรยายกล่าวไว้ในคำฟ้องและมีคำขอท้ายฟ้อง จำเลยทั้งสามให้การต่อสู้เป็นประเด็นไว้ และตาม ป.พ.พ. มาตรา 438 วรรคหนึ่ง ให้อำนาจศาลเกี่ยวกับค่าสินไหมทดแทนว่าจะพึงใช้โดยสถานใด เพียงใดนั้นให้ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด ซึ่งตามกฎหมายดังกล่าวแม้จำเลยทั้งสามไม่ให้การต่อสู้ในเรื่องค่าเสียหาย ศาลก็อาจกำหนดเป็นประเด็นข้อพิพาทและวินิจฉัยเรื่องค่าเสียหายได้ การชี้สองสถานกำหนดประเด็นข้อพิพาทนั้น ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 182, 183 ไม่ได้กำหนดว่าในคดีแต่ละเรื่องนั้นให้มีการชี้สองสถานกำหนดประเด็นข้อพิพาทได้เพียงครั้งเดียวจะกำหนดประเด็นข้อพิพาทเพิ่มเติมขึ้นมาในระหว่างการพิจารณาไม่ได้ และตาม ป.วิ.พ. มาตรา 86 วรรคสาม...

ค่าเสื่อมราคา และค่าเช่าระหว่างซ่อม ฟ้องเรียกค่าเสียหายได้หรือไม่

0
ค่าเสื่อมราคา และค่าเช่าระหว่างซ่อม ฟ้องเรียกค่าเสียหายได้หรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1797/2523 โจทก์ฟ้องว่า ลูกจ้างจำเลยที่ 1 ขับรถยนต์ของจำเลยที่ 1 ในทางการที่จ้างโดยประมาทชนเสาไฟฟ้าของโจทก์หักและอุปกรณ์ไฟฟ้าเสียหาย จำเลยที่ 2รับประกันภัยรถยนต์คันดังกล่าวประเภทประกันภัยค้ำจุน ขอให้ร่วมกันใช้ค่าเสียหาย72,835.91 บาท โจทก์ถอนฟ้องจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 ให้การว่าฟ้องโจทก์เคลือบคลุม จำเลยที่ 1 ไม่ใช่เจ้าของรถยนต์คันเกิดเหตุและไม่มีลูกจ้าง จำเลยที่ 1 ขับรถขณะเกิดเหตุ จำเลยที่ 2...

ถูกทำละเมิดทำให้รถบรรทุกที่วิ่งงานขาดรายได้ ฟ้องเรียกค่าเสียหายได้หรือไม่

0
ถูกทำละเมิดทำให้รถบรรทุกที่วิ่งงานขาดรายได้ ฟ้องเรียกค่าเสียหายได้หรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1480/2510 โจทก์ฟ้องว่า ลูกจ้างของจำเลยขับรถยนต์ชนรถยนต์บรรทุกที่โจทก์เช่ามาเสียหาย ขอให้ใช้ค่าซ่อมและค่าเสียหาย จำเลยให้การว่า คนขับรถของโจทก์เป็นฝ่ายผิด โจทก์เรียกค่าเสียหายเกินความจริงและสูงไป ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายตามฟ้อง จำเลยอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน จำเลยฎีกา ศาลฎีกาฟังว่า ลูกจ้างจำเลยขับรถยนต์ชนรถบรรทุกที่โจทก์เช่าโจทก์เสียค่าซ่อมจริง ส่วนเมื่อรถยนต์บรรทุกของโจทก์ให้เช่าไม่ได้เพราะการละเมิดของลูกจ้างจำเลย ทำให้โจทก์ขาดผลกำไรจากการให้เช่าที่เคยได้รับ อันเป็นค่าเสียหายโดยตรงจากผลแห่งการที่ลูกจ้างได้ละเมิดแก่โจทก์ ไม่ใช่ค่าเสียหายพิเศษ เป็นค่าเสียหายที่โจทก์ได้รับจากการละเมิดของลูกจ้างจำเลย จำเลยต้องร่วมรับผิดในผลแห่งละเมิดที่ลูกจ้างได้กระทำไปตามทางการที่จ้าง พิพากษายืน สรุป รถยนต์บรรทุกของโจทก์ให้เช่าไม่ได้ เพราะการละเมิดของลูกจ้างจำเลยทำให้โจทก์ขาดผลกำไรจากการให้เช่าที่เคยได้รับ อันเป็นค่าเสียหายโดยตรงจากผลแห่งการที่ลูกจ้างจำเลยได้ละเมิดแก่โจทก์ ไม่ใช่ค่าเสียหายพิเศษจำเลยซึ่งเป็นนายจ้างต้องร่วมรับผิดใช้ค่าเสียหายนี้