Home Authors Posts by Athip Schumjinda

Athip Schumjinda

420 POSTS 0 COMMENTS

ในกรมธรรม์คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ“ทุพพลภาพ” มีความหมายว่าอย่างไร

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา ในกรมธรรม์คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ “ทุพพลภาพ “มีความหมายว่าอย่างไร เชิญอ่านได้เลยครับ       ทุพพลภาพ ( Disability ) มีหมายความว่า  การสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะหรือของร่างกาย หรือสูญเสียภาวะปกติของจิตใจจนไม่สามารถทำงานได้  ทุพพลภาพ หลักๆจะมี 4 รูปแบบ      “ทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง” หมายถึง...

กรณีผู้ประสบภัยได้รับความเสียหายต่อร่างกายหลายกรณี พ.ร.บ.จะคุ้มครองกรณีไหนบ้าง

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า กรณีผู้ประสบภัยได้รับความเสียหายต่อร่างกายหลายกรณี บริษัทประกันจะคุ้มครองกรณีไหนบ้าง เชิญอ่านได้เลยครับ "พ.ร.บ." คือ การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ ซึ่งกฏหมายบังคับให้รถทุกคันต้องทำประกัน พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ที่กฎหมายกำหนดให้ยานพาหนะทางบกทุกประเภทที่จดทะเบียนกับกรมการขนส่งทางบก ต้องทำประกันภัยประเภทนี้เพื่อให้ความคุ้มครองกับตัวบุคคลที่ได้รับผลจากอุบัติเหตุ โดยไม่คำนึงถึงว่าบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากอุบัติเหตุเหล่านั้นจะเป็นผู้ที่กระทำความผิดหรือไม่ ซึ่งกฎหมายจะให้ความคุ้มครองต่อตัวคู่กรณีและผู้เอาประกันเมื่อเกิดอุบัติเหตุในรูปแบบของเงินชดเชยและค่ารักษาพยาบาลตามที่กฎหมายกำหนด กรณีผู้ประสบภัยได้รับความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัยหลายกรณี บริษัทจะจ่ายจํานวนเงินคุ้มครองเฉพาะกรณีที่มีจํานวนเงินคุ้มครองที่สูงกว่า เนื่องจากอุบัติเหตุจากรถนั้นอาจทําให้ผู้ประสบภัยได้รับความเสียหายหรือความสูญเสียได้มากกว่าหนึ่งรายการ การได้รับการคุ้มครองบริษัทจะพิจารณาชดใช้ให้ตามความสูญเสียที่ผู้ประสบภัยจะได้รับ...

การแจ้งอุบัติเหตุเมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้นผู้เอาประกันภัยหรือผู้ขับขี่ต้องดำเนินการอย่างไร

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า การแจ้งอุบัติเหตุเมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้นผู้เอาประกันภัยหรือผู้ขับขี่ต้องดำเนินการอย่างไร เชิญอ่านได้เลยครับ การแจ้งอุบัติเหตุเมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้น เป็นการกําหนดหน้าที่ให้ผู้เอาประกันภัยหรือผู้ขับขี่จะต้องปฏิบัติเมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นโดยจะต้องแจ้งอุบัติเหตุ ที่เกิดขึ้นให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้ารวมถึงการนัดหมายของพนักงานสอบสวน การนัดหมายเจรจาค่าสินไหมทดแทน กับคู่กรณี การส่งหนังสือทวงถาม หรือหมายเรียกสําเนาคําฟ้องให้แก่บริษัท เมื่อผู้เอาประกันภัยถูกทวงถามให้ชดใช้ค่าเสียหาย หรือถูกฟ้องต่อศาลต้องแจ้งให้บริษัททราบด้วยเพื่อให้บริษัทได้ทําการตรวจสอบความเสียหายที่แท้จริง และ/หรือปกป้องความเสียหายที่เกิดขึ้นมิให้ความเสียหายขยายหรือเพิ่มขึ้นได้ และเพื่อให้บริษัทเข้ามาดูแลรักษาสิทธิ อันพึงมีพึงได้ของทั้งสองฝ่ายและดําเนินการอันจําเป็นเพื่อรักษาสิทธิตามกฎหมายต่อไป การแจ้งให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้า หมายถึง ผู้ขับขี่หรือผู้เอาประกันภัยจะต้องแจ้งให้บริษัทผู้รับประกันภัย ทราบถึงเหตุแห่งความเสียหายหรือความรับผิดตามกฎหมายที่เกิดขึ้น...

การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนโดยฉ้อฉล มีผลอย่างไร

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนโดยฉ้อฉลมีผลอย่างไร เชิญอ่านได้เลยครับ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนโดยฉ้อฉล บริษัทไม่ต้องรับผิดสําหรับการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการฉ้อฉลหรือทุจริตโดยประการใดๆ ซึ่งผู้เอาประกันภัยหรือบุคคลที่ทําแทนผู้เอาประกันภัยได้กระทําเพื่อให้ได้รับประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยนี้ และบริษัทอาจใช้สิทธิบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยได้ทันที โดยไม่คืนเบี้ยประกันภัย ในกรณีที่ปรากฏหลักฐานโดยชัดแจ้งว่าผู้เอาประกันภัยหรือบุคคลที่ทําแทนผู้เอาประกันภัย หรือผู้ที่มาทําการ เรียกร้องค่าสินไหมทดแทน หรือผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยโดยทุจริต หรือมีการปกปิดข้อความจริงที่ต้อง แจ้งให้รู้ หรือแสดงหลักฐานอันเป็นเท็จในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน หรือผลประโยชน์ ซึ่งเข้าข่ายเป็นการกระทํา ความผิดตามมาตรา 108/4...

ความรับผิดของผู้รับประกันภัยหลายรายนั้นจะถือว่าเป็น“ลูกหนี้ร่วม”กันหรือไม่

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า กรณีมีผู้รับประกันภัยหลายรายจะถือว่าเป็น“ลูกหนี้ร่วม”กันหรือไม่ เชิญอ่านได้เลยครับ ประกันภัยหลายรายมีหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. ผู้เอาประกันในสัญญาประกันแต่ละรายจะต้องเป็นบุคคลๆเดียวกัน 2. เป็นการเอาทรัพย์อันเดียวทำสัญญาประกันภัยกับผู้รับประกันภัยคนละราย 3. ภัยที่รับเสี่ยงต้องเป็นภัยอันเดียวกัน 4. สัญญาประกันภัยทุกรายต้องมีผลบังคับใช้ในเวลาเกิดภัยด้วย การชดใช้ค่าสินไหมตามหลักการเฉลี่ย กรณีที่ 1 ทำสัญญาตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป พร้อมกัน (จะชดใช้ตามอัตราส่วนที่บริษัทรับประกัน)       กรณีที่ 2...

ความประมาทเลินเล่อโดยที่มิใช่ความผิดของผู้เอาประกันบริษัทประกันจะปฏิเสธความรับผิดได้หรือไม่

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า ความประมาทเลินเล่อโดยที่มิใช่ความผิดของผู้เอาประกันบริษัทประกันจะปฏิเสธความรับผิดได้หรือไม่ เชิญอ่านได้เลยครับ การประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอก (Liability Insurance) การประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอก หรือเรียกว่า การประกันภัยค้ำจุน เป็นการประกันภัยที่คุ้มครองความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก ซึ่งบริษัทประกันภัยยินยอมที่จะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอกผู้ได้รับความเสียหายอันเกิดจากการกระทำของผู้เอาประกันภัย ซึ่งเป็นผลมาจากความประมาทเลินเล่อของผู้เอาประกันภัย หรือลูกจ้างของผู้เอาประกันภัย หรือความรับผิดที่เอาประกันภัยได้ จะต้องเป็นความรับผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ ผู้เอาประกันภัยจึงจะถือว่ามีส่วนได้เสียที่จะเอาประกันภัยได้ ในบางครั้งผู้เอาประกันภัยมิได้เป็นผู้ก่อให้เกิดความเสียหาย แต่ในทางกฎหมายผู้เอาประกันภัยจำเป็นต้องรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอกด้วย เช่น...

ในกรมธรรม์ไม่ได้ระบุชื่อ“ผู้รับผลประโยชน์”บริษัทประกันจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ใคร

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า ในกรมธรรม์ไม่ได้ระบุชื่อ“ผู้รับผลประโยชน์”บริษัทประกันจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ใคร เชิญอ่านได้เลยครับ ผู้รับผลประโยชน์ประกันรถยนต์ คือ ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ในกรณีที่รถยนต์สูญหายหรือเสียหายอย่างสิ้นเชิง ทำให้ไม่สามารถซ่อมแซ่มได้   กรณีไม่ระบุชื่อผู้รับผลประโยชน์ ผู้รับผลประโยชน์ คือ ผู้เอาประกัน กรณีที่ผู้เอาประกันไม่ได้ระบุชื่อผู้ได้รับผลประโยชน์ หมายความว่าผู้เอาประกันกับผู้รับผลประโยชน์ คือคนคนเดียวกัน และตอนรับค่าสินไหมต้องแสดงหลักฐานว่าเป็นเจ้าของอย่างแท้จริง กรณียังผ่อนชำระค่าเช่าซื้อไม่หมด ผู้รับผลประโยชน์ คือ...

สัญญาเช่าซื้อสิ้นสุดลงสัญญาประกันภัยจะสิ้นสุดลงด้วยหรือไม่

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า สัญญาเช่าซื้อสิ้นสุดลงสัญญาประกันภัยจะสิ้นสุดลงด้วยหรือไม่ เชิญอ่านได้เลยครับ การขอยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยเป็นสิทธิ์อันชอบธรรมที่สามารถยกเลิกได้ตามกฏหมาย  โดยสัญญาประกันภัยจะสิ้นผลบังคับ ต่อเมื่อผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประกันภัย เป็นฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดที่บอกเลิกสัญญาประกันภัย การสิ้นผลบังคับของกรมธรรม์มีอยู่ 2 กรณีด้วยกันคือ การสิ้นผลบังคับตามวันเวลาที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย กับ การบอกเลิกกรมธรรม์จากฝ่ายรับประกันภัยหรือผู้เอาประกันภัย กรณีที่ผู้เอาประกันภัยเป็นฝ่ายบอกเลิกผู้เอาประกันภัยต้องแจ้งให้บริษัททราบเป็นลายลักษณ์อักษร ถ้าบริษัทประกันภัยเป็นฝ่ายบอกเลิก ก็ต้องทำหนังสือบอกกล่าวการเลิกกรมธรรม์ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับถึงผู้เอาประกันภัยตามที่อยู่และบริษัทจะต้องคืนเบี้ยประกันภัยให้กับผู้เอาประกันภัยตามส่วน(ตามตารางคืนเบี้ยประกัน) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา...

ผู้รับประกันภัยจะเข้ารับช่วงสิทธิให้เสื่อมสิทธิของผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ได้หรือไม่

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า ผู้รับประกันภัยจะเข้ารับช่วงสิทธิให้เสื่อมสิทธิของผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ได้หรือไม่ หรือมีผลอย่างไร ต่อเนื่องจากบทความการใช้สิทธิไล่เบี้ยของผู้รับประกันภัย เชิญอ่านได้เลยครับ หลักว่าด้วยการรับช่วงสิทธิ (Principle of subrogation) เมื่อเกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินที่เอาประกันภัยไว้โดยมีบุคคลภายนอกเป็นผู้ก่อภัย ผู้เอาประกันภัยมีสิทธิเรียกค่าเสียหายได้ 2 ทาง คือ 1. เรียกค่าสินไหมทดแทนจากผู้รับประกันภัย 2. ใช้สิทธิเรียกร้องให้ผู้กระทำละเมิดชดใช้ค่าเสียหาย ถือเป็นสิทธิที่เกิดโดยผลของกฎหมาย ถ้าผู้เอาประกันเรียกทางใดทางหนึ่งก็ไม่มีปัญหา แต่ถ้าใช้สิทธิเรียกร้องทั้ง 2...

“ต่างฝ่ายต่างประมาทไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน” คืออะไร

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า “ต่างฝ่ายต่างประมาทไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน” มีผลอย่างไรเชิญอ่านได้เลยครับ ประมาทร่วม คืออะไร คำว่า “ประมาทร่วม” ในทางกฎหมายนั้นจะใช้คำว่า “ต่างฝ่ายต่างประมาทไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน”...