Home Authors Posts by Athip Schumjinda

Athip Schumjinda

420 POSTS 0 COMMENTS

ผู้ค้ำประกันตามสัญญาเช่าซื้อยักยอกรถยนต์ไป บริษัทประกันจะคุ้มครองความเสียหายหรือไม่

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า ผู้ค้ำประกันตามสัญญาเช่าซื้อยักยอกรถยนต์ไป บริษัทประกันจะคุ้มครองความเสียหายหรือไม่ มีผลอย่างไรเชิญอ่านได้เลยครับ เนื่องจากปัจจุบันการเกิดเหตุยักยอกรถยนต์มีเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะเป็นคนบุคคลใกล้ชิด หรือบุคคลในครอบครัวของผู้เอาประกันภัยเอง เมื่อมีความเสียหายหรือสูญหายอันเกิดจากการลักทรัพย์ หรือยักยอกทรัพย์ โดยคู่สมรส บุคคลซึ่งอยู่กินกันฉันสามีภรรยา โดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส บุคคลที่เป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจกับผู้เอาประกันภัย ผู้ค้ำประกันตามสัญญาเช่าซื้อรถยนต์ บุคคลได้ รับมอบรถยนต์หรือครอบครองรถยนต์ตามสัญญายืม สัญญาเช่า สัญญาเช่าซื้อ...

เมื่อการสมรสสิ้นสุดลงด้วยความตายของผู้เอาประกันภรรยาจะมีสิทธิได้รับเงินจากบริษัทประกันหรือไม่

0
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ทีมงานทนายฟ้องประกัน โดยหัวหน้าสำนักงาน ทนายอธิป ชุมจินดา จะมาขอแนะนำประเด็นข้อกฎหมายในประเด็นที่ว่า เมื่อการสมรสสิ้นสุดลงด้วยความตายของผู้เอาประกันภรรยาจะมีสิทธิได้รับเงินจากบริษัทประกันหรือไม่ มีผลอย่างไรเชิญอ่านได้เลยครับ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 897 วางหลักไว้ว่า ถ้าผู้เอาประกันภัยได้เอาประกันภัยไว้โดยกำหนดว่าเมื่อตนถึงซึ่งความมรณะให้ใช้เงินแก่ทายาททั้งหลายของตนโดยมิได้เจาะจงระบุชื่อผู้หนึ่งผู้ใดไว้ไซร้ จำนวนเงินอันจะพึงใช้นั้น ท่านให้ฟังเอาเป็นสินทรัพย์ส่วนหนึ่งแห่งกองมรดกของผู้เอาประกันภัย ซึ่งเจ้าหนี้จะเอาใช้หนี้ได้ และมาตรา 1470 ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา นอกจากที่ได้แยกไว้เป็นสินส่วนตัวย่อมเป็นสินสมรส ปัญหาดังกล่าวมีคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4239/2558 วินิจฉัยไว้ว่า ป.พ.พ. มาตรา...

กรณีคู่กรณียังตกลงจํานวนค่าสินไหมทดแทนกันไม่ได้และมีการส่งฟ้องบริษัทจะวางเงินสินไหมที่ศาลได้หรือไม่

0
กรณีคู่กรณียังตกลงจํานวนค่าสินไหมทดแทนกันไม่ได้ แต่ผลคดีเป็นที่ยุติว่าผู้ขับขี่รถประกันภัยประมาททั้งสองฝ่าย และมีการส่งฟ้องในคดีอาญา และยังไม่สามารถตกลงค่าสินไหมทดแทนกันได้ ซึ่งตามเงื่อนไข กรมธรรม์ประกันภัยบริษัทยังไมต้องชําระค่าสินไหมทดแทน แต่หากขณะคดียังไม่ถึงที่สุดหรือระหว่างการพิจารณาคดีของศาล บริษัททั้ง 2 ประสงค์จะวางเงินชดใช้ค่าสินไหมทดแทน โดยความยินยอมของผู้ขับขี่รถประกันหรือผู้เอาประกันภัย บริษัททั้งสองจะต้องวางเงินเต็มตามความคุ้มครองของแต่ละบริษัท เว้นแต่จํานวนเงินเอาประกันภัย 2 กรมธรรม์รวมกันแล้วเกินกว่า จํานวน 2,000,000 บาท บริษัททั้ง 2 บริษัท ต้องวางเงินรวมกันตามสัดส่วนของจํานวนเงินเอาประกันภัย แต่ต้องไม่ต่ำกว่า จํานวน...

หากความรับผิดของผู้เอาประกันภัยมิได้เกิดจากอุบัติเหตุ บริษัทประกันจะคุ้มครองหรือไม่

0
บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความสูญเสียหรือความเสียหายอย่างใดๆ อันเกิดแก่บุคคลภายนอก ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย เนื่องจากอุบัติเหตุอันเกิดจากรถยนต์ที่ใช้หรืออยู่ในทาง หรือสิ่งที่บรรทุก หรือติดตั้งในรถยนต์นั้นในระหว่างระยะเวลาประกันภัยในนามผู้เอาประกันภัย ดังนี้ การคุ้มครองตามสัญญาหมวดนี้ เป็นการคุ้มครองตามสัญญาประกันภัยค้ำจุน หรือการประกันภัยความรับผิดของผู้เอาประกันภัยที่มีต่อบุคคลภายนอก ซึ่งความรับผิดตามกฎหมายของผู้เอาประกันภัยที่บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอก ต้องเป็นความรับผิดจากอุบัติเหตุอันเกิดจากรถยนต์ที่ใช้รถยนต์ที่อยู่ในทางสิ่งที่บรรทุก หรือติดตั้งในรถยนต์นั้น ดังนั้นหากความรับผิดของผู้เอาประกันภัยมิได้เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น ผู้ขับขี่ตั้งใจขับรถยนต์คันเอาประกันภัยชนรถคันอื่น หรือบุคคลอื่น หรือเกิดจากอุบัติเหตุ แต่ไม่ใช่อุบัติเหตุอันเกิดจากรถยนต์ที่ใช้ รถยนต์ที่อยู่ในทางสิ่งที่บรรทุก หรือติดตั้งในรถยนต์นั้นแล้ว บริษัทก็ไม่จำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแต่อย่างใด กล่าวโดยสรุป หากความรับผิดของผู้เอาประกันภัยมิได้เกิดจากอุบัติเหตุ บริษัทก็ไม่จำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแต่อย่างใด ปรึกษาทีมงานทนายความ ทนายอธิป 061-939-9935 ทนายเบส 091-939-4249 ทนายหนึ่ง...

การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนโดยฉ้อฉล บริษัทต้องรับผิดหรือไม่

0
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนโดยฉ้อฉล บริษัทไม่ต้องรับผิดสําหรับการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการฉ้อฉลหรือทุจริตโดยประการใดๆ ซึ่งผู้เอาประกันภัยหรือบุคคลที่ทําแทนผู้เอาประกันภัยได้กระทําเพื่อให้ได้รับประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยนี้ และบริษัทอาจใช้สิทธิบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยได้ทันที โดยไม่คืนเบี้ยประกันภัย ในกรณีที่ปรากฏหลักฐานโดยชัดแจ้งว่าผู้เอาประกันภัยหรือบุคคลที่ทําแทนผู้เอาประกันภัย หรือผู้ที่มาทําการ เรียกร้องค่าสินไหมทดแทน หรือผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยโดยทุจริต หรือมีการปกปิดข้อความจริงที่ต้อง แจ้งให้รู้ หรือแสดงหลักฐานอันเป็นเท็จในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน หรือผลประโยชน์ ซึ่งเข้าข่ายเป็นการกระทํา ความผิดตามมาตรา 108/4 หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดตามมาตรา 108/5 แห่งพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. ประกันวินาศภัย...

กรณที่ได้รับส่วนลดเบี้ยประกันภัยได้แก่กรณีใดบ้าง

0
- ส่วนลดความเสียหายส่วนแรก โดยความตกลงระหว่างบริษัทกับผู้เอาประกันภัยซึ่งเป็นความเสียหายส่วนแรกของทรัพย์สินบุคคลภายนอก และ/หรือ ความเสียหายส่วนแรกของความเสียหายต่อรถยนต์ - ส่วนลดกลุ่ม ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยมีรถยนต์ที่เอาประกันภัยไว้กับบริษัทตามจํานวนและเงื่อนไข ที่กําหนดไว้ในพิกัดอัตราเบี้ยประกันภัย จะได้รับส่วนลดเบี้ยประกันภัยกลุ่ม 10% - ส่วนลดเบี้ยประกันภัยประวัติดี เป็นส่วนลดที่ผู้เอาประกันภัยมีสิทธิได้รับส่วนลดตามหลักเกณฑ์ ส่วนลดเบี้ยประกันภัยประวัติดี ซึ่งคํานวณจากประวัติในปีที่ผ่านมา - ส่วนลดอื่น ๆ เช่น กรณีที่ผู้เอาประกันภัยติดต่อทําประกันภัยกับบริษัทโดยตรงไม่ผ่านตัวแทนประกันวินาศภัย หรือนายหน้าประกันวินาศภัย หรือกรณีรถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารไม่เกิน 20 ที่นั่ง ที่ใช้เป็นส่วนบุคคล...

จํานวนเงินเอาประกันภัย แบ่งออกเป็นอะไร

0
จํานวนเงินเอาประกันภัย แบ่งออกเป็น การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (เฉพาะกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์แบบรวมความคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ) การประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอก การประกันรถยนต์ เสียหาย สูญหาย ไฟไหม้ และการประกันภัยตามเอกสารแนบท้าย โดยจํานวนเงินเอาประกันภัยขั้นต่ำที่ผู้เอาประกันภัยจะซื้อความคุ้มครองได้ - สําหรับการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 และที่เกี่ยวข้องกําหนด - สําหรับความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยของบุคคลภายนอก คือ 500,000 บาทต่อหนึ่งคนและ 10,000,000 บาทต่ออุบัติเหตุแต่ละครั้ง - สําหรับความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก คือ...

การที่บริษัทประกันกําหนดลักษณะการใช้งานรถยนต์ที่ผิดพลาดเองจะยกขึ้นมากล่าวอ้างได้หรือไม่

0
การที่บริษัทกําหนดลักษณะการใช้ที่ผิดพลาดเองจะยกขึ้นมากล่าวอ้างในภายหลังให้ผู้เอาประกันภัยได้รับความเสียหายมิได้ เช่น รถยนต์ที่ขอเอาประกันภัยเป็นรถยนต์บรรทุก (Pickup) ผู้ขอเอาประกันภัยมิได้ไปใช้ในการรับจ้างหรือให้เช่า หรือใช้ในกิจการอื่นใด แต่บริษัทกลับไประบุลักษณะการใช้รถในตารางว่า “ใช้ส่วนบุคคล ไม่ใช้ รับจ้างหรือให้เช่า” (ทั้ง ๆ ที่ตามพิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ดังกล่าวจะต้องทําประกันภัยในลักษณะใช้เพื่อการพาณิชย์ หรือพาณิชย์พิเศษเท่านั้น) เมื่อผู้เอาประกันภัยนํารถยนต์ดังกล่าวไปใช้อย่างรถยนต์นั่งส่วนบุคคลทั่วไป บริษัทจะมากล่าวอ้างในภายหลังว่ารถยนต์บรรทุก (Pickup) เป็นรถยนต์ที่จะต้องทําประกันภัยในลักษณะการใช้เพื่อการพาณิชย์ หรือการใช้เพื่อการพาณิชย์พิเศษเท่านั้น เมื่อทําประกันภัยผิดประเภทผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบในความเสียหายส่วนแรกเอง จํานวน 2,000 บาท สําหรับความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก...

การประกันภัยประเภทไม่ระบุชื่อผู้ขับขี่กับการประกันภัยประเภทระบุชื่อผู้ขับขี่ต่างกันอย่างไร

0
ในกรณีที่เป็นการประกันภัยประเภทไม่ระบุชื่อผู้ขับขี่ หากความรับผิดหรือความเสียหายได้เกิดขึ้นในขณะที่มีบุคคลที่ได้รับความยินยอมจากผู้เอาประกันภัยเป็นผู้ขับขี่ ผู้เอาประกันภัยไม่จําเป็นต้องเข้ามาร่วมรับผิดในความเสียหายส่วนแรกแต่อย่างใด ซึ่งจะต่างจากการประกันภัยประเภทระบุชื่อผู้ขับขี่ กล่าวคือ แม้ว่าความรับผิดหรือความเสียหายได้เกิดขึ้นในขณะที่มีบุคคลที่ได้รับความยินยอมจากผู้เอาประกันภัยเป็นผู้ขับขี่ก็ตาม แต่หากบุคคลที่ได้รับความยินยอมจากผู้เอาประกันภัยนั้นมิใช่บุคคลที่ระบุชื่อเป็นผู้ขับขี่ในกรมธรรม์ประกันภัยแล้ว ผู้เอาประกันภัยก็จะต้องเข้ามารับผิดในความเสียหายส่วนแรกเอง ดังนี้ - 2,000 บาทแรก ของความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก - 6,000 บาทแรก ของความเสียหายต่อรถยนต์ที่เกิดจากการชน การคว่ำ กล่าวโดยสรุป ผู้เอาประกันภัยสามารถเลือกการทําประกันภัย ดูว่ามีความคุ้มครองอะไรบ้าง และแต่ละความคุ้มครองมีหลักการสําคัญเป็นอย่างไรบ้าง ข้อยกเว้นอะไรบ้างเพื่อให้เหมาะกับตนเอง ปรึกษาทีมงานทนายความ ทนายอธิป 061-939-9935 ทนายเบส 091-939-4249 ทนายหนึ่ง 084-444-8952 ทนายไผ่ 095-781-9477 ทนายตี๋ใหญ่ 088-021-7716

ในการคิดคำนวณเบี้ยประกันปัจจัยที่ใช้เป็นตัวกำหนดความเสี่ยงสำหรับการประกันภัยประเภทระบุชื่อผู้ขับขี่คืออะไร

0
ในการทําประกันภัยรถยนต์ประเภทระบุชื่อผู้ขับขี่นั้น ผู้เอาประกันภัยสามารถระบุชื่อผู้ขับขี่ที่ได้รับความคุ้มครองได้ถึง 2 คน แต่จะระบุคนเดียวก็ได้ ในกรณีที่ระบุ 2 คนนั้น การคิดคํานวณเบี้ยประกันภัยจะใช้ผู้ขับขี่ที่มีความเสี่ยงสูงเป็นฐานในการคํานวณ เบี้ยประกันภัย ซึ่งปัจจัยที่ใช้เป็นตัวกําหนดความเสี่ยงสําหรับการประกันภัยระบุชื่อผู้ขับขี่เพิ่มเติมจากการประกันภัยประเภทไม่ระบุชื่อผู้ขับขี่ก็คือ“อายุของผู้ขับขี่” โดยมีการแบ่งช่วงอายุของผู้ขับขี่จากช่วงที่มีความเสี่ยงภัยน้อยไปยังช่วงที่มีความเสี่ยงภัยมากเป็น 4 ช่วงอายุ ดังนี้ - อายุเกิน 50 ปีขึ้นไป - อายุ 36-50 ปี - อายุ 25-35 ปี - อายุ 18-24...